Recording Diary 12
Science Experiences Management for Early Childhood
Ms. Jintana Suksamran
October 25,2016Group 101 (Tuesday)
Time 08.30-12.30 PM.
Content (เนื้อหา)
อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มนำ Mind Map ที่นำไปแก้ไขจากอาทิตย์ที่แล้วมาส่ง แล้วอาจารย์ก็อธิบาย ให้คำแนะนำเพิ่มเติมแต่ละหน่วย และให้นักศึกษาแต่ละคนทำ Mind Map หน่วยที่ทำตามกลุ่มของตัวเองแล้วนำมาส่งอาจารย์ โดยเขียนให้ละเอียดกว่าเดิม
กลุ่มของฉัน หน่วย อากาศ
กลุ่มที่ 2 หน่วยต้นไม้
กลุ่มที่ 3 หน่วยผลไม้
กลุ่มที่ 4 หน่วยปลา
กลุ่มที่ 5 หน่วย ยานพาหนะ
กลุ่มที่ 6 หน่วยไข่
กลุ่มที่ 7 หน่วยดอกไม้
เนื้อหาสาระในแต่ละกลุ่มจะต้องมีองค์ประกอบดังนี้
-ชนิด/ประเภท
-ลักษณะ
-ปัจจัยในการดำรงชีวิต/การเปลี่ยนแปลง/การรักษา/การถนอม
-ประโยชน์
-ข้อควรระวัง
ในการทำ Mind Map มีหลักการเขียนดังนี้
1 เขียนโดยการวนตามเข็มนาฬิกา เรียงจากขวาไปซ้าย ทำให้เข้าใจง่าย
2 บันทึกความรู้จากหัวข้อหลัก ข้อรอง และข้อย่อย เพื่อให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
3 มีภาพประกอบเนื้อหา ไม่มากจนเกินไป
4 เพื่อความอ่านง่าย ควรเขียนตัวอักษรให้ชัดเจน
--------------------------------------------------------------
จากนั้นอาจารย์ก็สอนการเชื่อมโยงหน่วยต่างๆ ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยการเชื่อมโยง จะต้องดูที่ตัวบ่งชี้ในแต่ละสาระและเชื่อมโยงเรื่องที่จะสอนเข้าด้วยกัน โดยให้สอดคล้อง และนำมาจัดกิจกรรมให้เด็กได้รับประสบการณ์โดยตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ
ระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนำความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์
สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจความสำคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นำมาใช้ในการสำรวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
จากนั้นอาจารย์ก็ให้นักศึกษาเขียนแผนการสอน โดยให้นักศึกษาเลือกกันภายในกลุ่มว่าแต่ละคนจะทำวันไหนใน 5 วัน และเมื่อเลือกได้แล้วให้แต่ละคนเขียนเเผนการสอนคราวๆมาส่งอาจารย์
Recording Diary 12
Science Experiences Management for Early Childhood
Ms. Jintana Suksamran
October 25,2016Group 101 (Tuesday)
Time 08.30-12.30 PM.
Science Experiences Management for Early Childhood
Ms. Jintana Suksamran
October 25,2016Group 101 (Tuesday)
Time 08.30-12.30 PM.
Content (เนื้อหา)
อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มนำ Mind Map ที่นำไปแก้ไขจากอาทิตย์ที่แล้วมาส่ง แล้วอาจารย์ก็อธิบาย ให้คำแนะนำเพิ่มเติมแต่ละหน่วย และให้นักศึกษาแต่ละคนทำ Mind Map หน่วยที่ทำตามกลุ่มของตัวเองแล้วนำมาส่งอาจารย์ โดยเขียนให้ละเอียดกว่าเดิม
กลุ่มของฉัน หน่วย อากาศ
กลุ่มที่ 2 หน่วยต้นไม้
กลุ่มที่ 3 หน่วยผลไม้
กลุ่มที่ 4 หน่วยปลา
กลุ่มที่ 5 หน่วย ยานพาหนะ
กลุ่มที่ 6 หน่วยไข่
กลุ่มที่ 7 หน่วยดอกไม้
เนื้อหาสาระในแต่ละกลุ่มจะต้องมีองค์ประกอบดังนี้
-ชนิด/ประเภท
-ลักษณะ
-ปัจจัยในการดำรงชีวิต/การเปลี่ยนแปลง/การรักษา/การถนอม
-ประโยชน์
-ข้อควรระวัง
ในการทำ Mind Map มีหลักการเขียนดังนี้
1 เขียนโดยการวนตามเข็มนาฬิกา เรียงจากขวาไปซ้าย ทำให้เข้าใจง่าย
2 บันทึกความรู้จากหัวข้อหลัก ข้อรอง และข้อย่อย เพื่อให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
3 มีภาพประกอบเนื้อหา ไม่มากจนเกินไป
4 เพื่อความอ่านง่าย ควรเขียนตัวอักษรให้ชัดเจน
--------------------------------------------------------------
จากนั้นอาจารย์ก็สอนการเชื่อมโยงหน่วยต่างๆ ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยการเชื่อมโยง จะต้องดูที่ตัวบ่งชี้ในแต่ละสาระและเชื่อมโยงเรื่องที่จะสอนเข้าด้วยกัน โดยให้สอดคล้อง และนำมาจัดกิจกรรมให้เด็กได้รับประสบการณ์โดยตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ
ระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนำความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์
สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจความสำคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นำมาใช้ในการสำรวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
จากนั้นอาจารย์ก็ให้นักศึกษาเขียนแผนการสอน โดยให้นักศึกษาเลือกกันภายในกลุ่มว่าแต่ละคนจะทำวันไหนใน 5 วัน และเมื่อเลือกได้แล้วให้แต่ละคนเขียนเเผนการสอนคราวๆมาส่งอาจารย์
---------------------------------------------------------------------
คำศัพท์น่ารู้
Factor = ปัจจัย
Season= ฤดูกาล
Vehicle = ยานพาหนะ
Livelihood = การดำรงชีวิต
Nourishment = การบำรุงรักษา
Teaching methods (วิธีการสอน)
-สอนโดยการให้คำแนะนำ
-การสอนโดยอธิบาย
-สอนโดยการยกตัวอย่างประกอบเนื้อหา
Skill (ทักษะที่ได้)
-ทักษะการคิด วิเคราะห์
-ทักษะการบูรณาการ การประยุกต์
-การนำเสนอ
-การเชื่อมโยง
-การแสดงความคิดเห็น
Adoption (การนำไปประยุกต์ใช้)
-สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเขียน Mind Map ให้ถูกต้อง มาให้ในการเรียนการสอนได้
-สามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดการเรียนรู้ การศึกษาในอนาคต
-สามารถเชื่อมโยงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้สอดคล้องกับมาตรฐานทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างเข้าใจ และนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์ให้เหมาะสมกับเด็กได้
Assessment (การประเมินผล)
ประเมินตัวเอง
เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน แต่งกายเรียบร้อย จดบันทึกใจความสำคัญของเนื้อหา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน แต่งกายเรียบร้อย จดบันทึกใจความสำคัญของเนื้อหา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจเรียน เพื่อนส่วนใหญ่เข้าเรียนตรงเวลา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่างๆเป็นอย่างดี และช่วยกันตอบคำถามอาจารย์
ประเมินอาจารย์
ประเมินอาจารย์
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ มีการเตรียมการเรียนการสอนมาดี อธิบายเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่างประกอบการสอนในเนื้อหา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น