วันอาทิตย์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2559

สรุปงานวิจัย

สรุปงานวิจัย

ชื่องานวิจัย
            ผลของการจัดประสบการณตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ที่มีตอทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย

ปริญญานิพนธ์ของ
            ศศิธร รณะบุตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พฤษภาคม 2551

ความมุ่งหมายของงานวิจัย
              1. เพื่อศึกษาระดับทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจําแนก รายทักษะ กอนและหลังการจัดประสบการณตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน
              2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจําแนก รายทักษะ กอนและหลังการจัดประสบการณตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน

ความสำคัญของงานวิจัย
               เปนการเผยแพรความรูเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยการจัดประสบการณตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร โรงเรียนและเปนแนวทางในการใชวิธีการสอนและการจัดกิจกรรมใหครูและผูที่เกี่ยวของกับเด็ก ปฐมวัยนําไปพัฒนาทักษะดาน อื่น ๆ ใหแกเด็ก เพื่อสงเสริมพัฒนาการและศักยภาพของเด็กปฐมวัย ตอไป

ของเขตของการวิจัย
               ประชากรที่ใชในการวิจัย 
   ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชาย–หญิง ที่มีอายุ 5–6 ปซึ่งกําลังศึกษาอยูชั้น อนุบาลศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย จํานวน 30 คน 
              กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย 
    กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ นักเรียนชาย–หญิง ที่มีอายุ 5–6 ปซึ่งกําลังศึกษาอยูชั้น อนุบาลศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 1 หองเรียน โดยวิธีการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) โดยการจับสลากนักเรียนชั้น อนุบาลปที่ 3 จํานวน 30 คน 
             ตัวแปรที่ศึกษา
    1. ตัวแปรตน คือ การจัดประสบการณตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน  
    2. ตัวแปรตาม ไดแก ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 5 ทักษะ ประกอบดวย 
          2.1 การสังเกต 
          2.2 การวัด 
          2.3 การจําแนกประเภท 
          2.4 การลงความเห็น 
          2.5 การพยากรณ

วิธีการดำเนินการทดลอง
     การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนดังนี้ 
     1. ขั้นนํา คือ การเตรียมเด็กใหพรอมโดยใชกิจกรรมตาง ๆ เชน การสนทนา การเลา นิทาน เลนเกมการรองเพลง การทองคําคลองจอง ปริศนาคําทาย เพื่อนําเขาสูบทเรียนพรอมทั้ง บอกจุดมุงหมายในการเรียน และกําหนดปญหา โดยครูกับเด็กตั้งประเด็นปญหาจากสิ่งตาง ๆ ที่อยู แวดลอม การตั้งขอสงสัยเกี่ยวกับปรากฏการณตามธรรมชาติความประหลาดมหัศจรรยของสิ่งเรา ดวยความอยากรูอยากเห็น มีการตั้งคําถามเพื่อเราใหเด็กพยายามหาคําตอบ 
    2. ขั้นดําเนินกิจกรรม คือ การที่ครูดําเนินกิจกรรมโดยใชการจัดกิจกรรมที่เนนการ กระทํา เรียนรูดวยการคนพบและการสํารวจการปฏิบัติการทดลองและการใหเด็กลงมือปฏิบัติดวย ตนเองทั้งในรูปแบบรายบุคคลและกิจกรรมกลุม เพื่อใหเด็กสามารถเกิดการเรียนรูไดอยางสูงสุด และ บูรณาการทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่ประกอบดวย - การตั้งสมมุติฐาน เปนขั้นของการวางแผนรวมกันในการทดลองหาคําตอบจาก การคาดคะเนหรือการพยากรณคําตอบที่อาจเปนจริงได - การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการตรวจสอบสมมุติฐาน เปนขั้นที่ครูกับเด็กรวมกัน ดําเนินการดามแผนการทดลองตามสมมุติฐานที่ตั้งไวโดยเนนทักษะกระบวนการดานการสังเกต การ จําแนกประเภท การทดลองมาใชดวย การใหเด็กไดใชประสาทสัมผัสเขาไปมีสวนในการรับรูจากการ สื่อของจริง - การวิเคราะหขอมูล ครูและเด็กนําผลการทดลองมาสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นรวมกัน โดยเก็บขอมูลที่ไดสัมผัสจากสื่อของจริง แลวนํามาวิเคราะหวาทําไมจึงเกิด ปรากฏการณเชนนั้นขึ้น 
    3. ขั้นสรุป คือ การอภิปราย และลงขอสรุป เด็กและครูรวมกันอภิปรายถึง ปรากฏการณที่เกิดขึ้นเพื่อจะไดลงขอสรุปวาวาผลที่เกิดขึ้นคืออะไร เพราะอะไร ทําไม ปรากฏการณ ที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจาดสิ่งแวดลอมแลวผลที่เกิดตามมาเปนอยางไร โดยเด็กและครูรวมกันสรุปการ อภิปรายเรื่องที่เรียนดวยกิจกรรมอยางใดอยางหนึ่ง เชน การสาธิต การสนทนาซักถาม การตอบ คําถาม หรือ เสนอผลงานตามลักษณะของเนื้อหา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น