Recording Diary 4
Science Experiences Management for Early Childhood
Ms. Jintana Suksamran
August 30,2016
Group 101 (Tuesday)
Time 08.30-12.30 PM.
Content (เนื้อหา)
ก่อนเริ่มเนื้อหาการเรียนการสอน อาจารย์ให้นักศึกษาคัดไทย ก-ฮ โดยมีพยัญชนะไทย 44 ตัว
จากนั้นอาจารย์ก็สรุปเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง รูปแบบการเรียนรู้เด็กปฐมวัย จากที่อาจารย์ให้นักศึกษาสรุปจากสัปดาห์ที่เเล้ว
ความหมายของอากาศ
อากาศคืออะไร
อากาศอยู่รอบตัวเราเสมอ เราสามารถรู้ว่ามีอากาศอยู่รอบๆตัวเราได้โดยโบกมือไปมา กระแสลมที่เกิดขึ้นและปะทะกับฝ่ามือของเรา ก็แสดงว่าอากาศมีจริง หรือถ้าเรายืนอยู่ในที่ที่มีลมพัดผ่าน เราจะรู้สึกว่ามีอากาศหรือลมพัดมาถูกตัวเรา แรงลมสามารถทำให้เกิดคลื่นน้ำ หรือหมุนกังหันลมได้
ส่วนประกอบของอากาศ
อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ให้ร่วมกันระดมความคิด ถ้าหากจะสอนเด็กให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องของอากาศ โดยมี กระดาษ 1 แผ่น และคลิป 1 ตัว นักศึกษาจะประดิษฐ์หรือสอนอะไรเกี่ยวกับเรื่องอากาศให้เด็กได้เข้าใจ
กลุ่มของฉันช่วยกันระดมความคิด จนตกลงลงร่วมกันว่าจะพับกระดาษเป็นรูปนก แล้วนำคลิปมาง้างออกให้เป็นตะขบเพื่อที่จะสามารถนำมาเกี่ยวที่ตัวนกได้ โดยใช้มืจับตรงคลิปที่เกี่ยวตัวนกไว้ เมื่อนกโดนลมจากอากาศมาปะทะกับวัตถุ(ตัวนก) จะทำให้ตัวนกเคลื่อนไหวไปตามแรงลมเพราะ วัตถุ(ตัวนก)มีขนาดเบากว่าแรงลมที่มาปะทะ
นำเสนอ
การทดลองของแต่ละกลุ่ม มีดังนี้
กลุ่มที่ 1 พับกระดาษเป็นรถ (พลังงาน)
แล้วนำคลิปเสียบเข้าไปในรถ เมื่อเป่าลม รถจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงได้ดีกว่า ไม่เอาคลิปเสือบเข้าไปในรถ เพราะกระดาษมีน้ำหนักเบา เมื่อมีแรงลมมากระทบจะทำให้รถเคลื่อนทีไม่เป็นทางตรงหรือตามแรงลม ต่างจากเมื่อเอาคลิปเสียบไว้รถจะเคลื่อนที่ไปในทางตรงได้ดีกว่า แต่จะช้าลง เพราะมีวัตถุมาถ่วงน้ำหนักไว้
กลุ่มที่ 2 ขย่ำกระดาษเป็นก้อนกลมๆ และกระดาษแบ่งครึ่ง กับคลิป (แรงต้าน)
นำของสองสิ่งโยนลงพื้นพร้อมกัน ปรากฏว่าของสองสิ่งตกถึงพื้นไม่พร้อมกัน เนื่องจากขนาดพื้นที่ของวัตถุไม่เท่ากัน คือกระดาษแบ่งครึ่งตกลงพื้นช้ากว่าคลิป เนื่องจากพื้นที่ของกระดาษมีมากกว่าคลิป ซึ่งมีพื้นที่น้อยกว่า จึงนำกระดาษมาขย่ำเป็นก้อนกลม เมื่อทำมาทดลองวัตถุทั้งสองก็ตกถึงพื้นพร้อมกัน
กลุ่มที่ 3 วาดรูปสภาพภูมิอากาศ
แบ่งออกเป็น 4 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูหนาว ฤดูฝน และฤดูแล้ง โดยเป็นการสอนโดยการอธิบาย ว่าเเต่ละฤดูมีอากาศแบบไหน
กลุ่มที่ 4 พับกระดาษเป็นลูกยาง
ให้กางกระดาษที่ตัดไว้คนละฝั่งและลองโยนขึ้นไปให้สูงและปล่อยให้มันลอยลงมาสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่ได้คือ ลูกยางกระดาษจะหมุนวนเป็นวงกลมแล้วตกลงมาสู่พื้น
กลุ่มที่ 5 กังหันลม
เมื่อมีลมมากระทบกังหันจะหมุนเป็นวงกลม เมื่อมีลมแรงมากระทบกับกังหัน กังหันจะหมุนแรง แต่ถ้าแรงไม่แรงหรือลมพัดผ่านเบาๆ กังหันจะหมุนเป็นวงกลม ช้าๆ ตามแรงลม
คำศัพท์น่ารู้
Test = การทดลอง
Step = ขั้นตอน
Condition = เงื่อนไข
Planning = การวางแผน
swarming = การจับกลุ่ม
Teaching methods (วิธีการสอน)
จากนั้นอาจารย์ก็สรุปเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง รูปแบบการเรียนรู้เด็กปฐมวัย จากที่อาจารย์ให้นักศึกษาสรุปจากสัปดาห์ที่เเล้ว
ความหมายของอากาศ
อากาศคืออะไร
อากาศอยู่รอบตัวเราเสมอ เราสามารถรู้ว่ามีอากาศอยู่รอบๆตัวเราได้โดยโบกมือไปมา กระแสลมที่เกิดขึ้นและปะทะกับฝ่ามือของเรา ก็แสดงว่าอากาศมีจริง หรือถ้าเรายืนอยู่ในที่ที่มีลมพัดผ่าน เราจะรู้สึกว่ามีอากาศหรือลมพัดมาถูกตัวเรา แรงลมสามารถทำให้เกิดคลื่นน้ำ หรือหมุนกังหันลมได้
ส่วนประกอบของอากาศ
อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ให้ร่วมกันระดมความคิด ถ้าหากจะสอนเด็กให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องของอากาศ โดยมี กระดาษ 1 แผ่น และคลิป 1 ตัว นักศึกษาจะประดิษฐ์หรือสอนอะไรเกี่ยวกับเรื่องอากาศให้เด็กได้เข้าใจ
กลุ่มของฉันช่วยกันระดมความคิด จนตกลงลงร่วมกันว่าจะพับกระดาษเป็นรูปนก แล้วนำคลิปมาง้างออกให้เป็นตะขบเพื่อที่จะสามารถนำมาเกี่ยวที่ตัวนกได้ โดยใช้มืจับตรงคลิปที่เกี่ยวตัวนกไว้ เมื่อนกโดนลมจากอากาศมาปะทะกับวัตถุ(ตัวนก) จะทำให้ตัวนกเคลื่อนไหวไปตามแรงลมเพราะ วัตถุ(ตัวนก)มีขนาดเบากว่าแรงลมที่มาปะทะ
นำเสนอ
การทดลองของแต่ละกลุ่ม มีดังนี้
กลุ่มที่ 1 พับกระดาษเป็นรถ (พลังงาน)
แล้วนำคลิปเสียบเข้าไปในรถ เมื่อเป่าลม รถจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงได้ดีกว่า ไม่เอาคลิปเสือบเข้าไปในรถ เพราะกระดาษมีน้ำหนักเบา เมื่อมีแรงลมมากระทบจะทำให้รถเคลื่อนทีไม่เป็นทางตรงหรือตามแรงลม ต่างจากเมื่อเอาคลิปเสียบไว้รถจะเคลื่อนที่ไปในทางตรงได้ดีกว่า แต่จะช้าลง เพราะมีวัตถุมาถ่วงน้ำหนักไว้
กลุ่มที่ 2 ขย่ำกระดาษเป็นก้อนกลมๆ และกระดาษแบ่งครึ่ง กับคลิป (แรงต้าน)
นำของสองสิ่งโยนลงพื้นพร้อมกัน ปรากฏว่าของสองสิ่งตกถึงพื้นไม่พร้อมกัน เนื่องจากขนาดพื้นที่ของวัตถุไม่เท่ากัน คือกระดาษแบ่งครึ่งตกลงพื้นช้ากว่าคลิป เนื่องจากพื้นที่ของกระดาษมีมากกว่าคลิป ซึ่งมีพื้นที่น้อยกว่า จึงนำกระดาษมาขย่ำเป็นก้อนกลม เมื่อทำมาทดลองวัตถุทั้งสองก็ตกถึงพื้นพร้อมกัน
กลุ่มที่ 3 วาดรูปสภาพภูมิอากาศ
แบ่งออกเป็น 4 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูหนาว ฤดูฝน และฤดูแล้ง โดยเป็นการสอนโดยการอธิบาย ว่าเเต่ละฤดูมีอากาศแบบไหน
กลุ่มที่ 4 พับกระดาษเป็นลูกยาง
ให้กางกระดาษที่ตัดไว้คนละฝั่งและลองโยนขึ้นไปให้สูงและปล่อยให้มันลอยลงมาสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่ได้คือ ลูกยางกระดาษจะหมุนวนเป็นวงกลมแล้วตกลงมาสู่พื้น
กลุ่มที่ 5 กังหันลม
เมื่อมีลมมากระทบกังหันจะหมุนเป็นวงกลม เมื่อมีลมแรงมากระทบกับกังหัน กังหันจะหมุนแรง แต่ถ้าแรงไม่แรงหรือลมพัดผ่านเบาๆ กังหันจะหมุนเป็นวงกลม ช้าๆ ตามแรงลม
คำศัพท์น่ารู้
Test = การทดลอง
Step = ขั้นตอน
Condition = เงื่อนไข
Planning = การวางแผน
swarming = การจับกลุ่ม
Teaching methods (วิธีการสอน)
-การให้อิสระในการคิด -การได้ลงมือทำ ลงมือปฎิบัติ ลองผิดลองถูก -การยกตัวอย่างประกอบการสอน -การอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติมที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสาระการเรียน
Skill (ทักษะที่ได้)
-การคิด วิเคราะห์
-การระดมความคิดร่วมกัน
-การออกแบบ คิดสร้างสรรค์
Adoption (การนำไปประยุกต์ใช้)
นำมาประยุกต์ใช้ในการทำการทดลองต่างๆที่ต้องการจะศึกษา หรือเพื่อให้ความรู้แก่ผู้อื่นได้ เป็นประโยชน์ในการเรียนการศึกษาต่อในอนาคต และสามารถนำมาปรับ หรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
Assessment (การประเมินผล)
ประเมินตัวเอง
มาเรียนเช้า แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน มีบางส่วนที่ไม่เข้าใจในเนื้อหา ก็ถามอาจารย์ ช่วยเพื่อนระดมความคิดในการทำสิ่งประดิษฐ์ นำเสนอผลงานการทดลองหน้าชั้นเรียน กล้าแสดงออก
Skill (ทักษะที่ได้)
-การคิด วิเคราะห์
-การระดมความคิดร่วมกัน
-การออกแบบ คิดสร้างสรรค์
Adoption (การนำไปประยุกต์ใช้)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น